E-BOOK หลักสูตรพัฒนาทักษะรู้เท่าทันสื่อ
สำหรับภาคมัธยมศึกษาและประชาชนทั่วไป
หลักสูตรการพัฒนาทักษะการรู้เท่าทันสื่อของประชาชนเพื่อการใช้ประโยชน์อย่างสร้างสรรค์
โดย สำนักงาน กสทช.
เข้าชมรูปแบบ ebook ดาวน์โหลดฟรีโดย สำนักงาน กสทช.
MEDIA LITERACY รู้ฤทธิ์ รู้ทันสื่อ: คู่มือหลักสูตรการพัฒนาทักษะการรู้เท่าทันสื่อของประชาชนเพื่อการใช้ประโยชน์อย่างสร้างสรรค์ (ระดับมัธยมศึกษา)
โดย สำนักงาน กสทช.
MEDIA LITERACY รู้ฤทธิ์ รู้ทันสื่อ: คู่มือหลักสูตรการพัฒนาทักษะการรู้เท่าทันสื่อของประชาชนเพื่อการใช้ประโยชน์อย่างสร้างสรรค์ (ระดับประชาชน)
รู้เท่าทันสื่อ โดย MeLit PROJECT
MeLit Project แพลตฟอร์มอีเลิร์นนิงของเรา จะช่วยให้คุณ “รู้เท่าทันสื่อ” มากยิ่งขึ้น
โมดูลที่ 1 : ความรู้เบื้องต้น / Media Literacy
ความรู้เบื้องต้น / Media Literacy
ความหมาย ความสำคัญ องค์ประกอบของทักษะการรู้เท่าทันสื่อ การรู้เท่าทันสื่อ สารสนเทศ และดิจิทัล (MIDL) และความฉลาดทางดิจิทัล (DQ)
โมดูลที่ 2 นิเวศสื่อ Media Ecology
นิเวศสื่อ Media Ecology
ความหมาย องค์ประกอบ ลักษณะของนิเวศสื่อ นิเวศสื่อกับการรู้เท่าทันสื่อ การเปลี่ยนแปลงของสื่อ พลวัตของสื่อ ประเภทของสื่อ
โมดูลที่ 3 การรู้จักสื่อ
การรู้จักสื่อ
รู้จักสื่อ เข้าใจ บทบาทหน้าที่สื่อ ภายใต้ปัจจัยกดดันทั้งปัจจัยภายใน ภายนอกองค์กร รู้จักเนื้อหาสาร ที่แฝงฝังผ่านบทบาทหน้าที่สื่ออันมีนัยยะได้ทั้ง เชิงบวกและเชิงลบ ส่งผลกระทบ ต่อผู้สื่อสาร ในระดับบุคคล และระดับสังคม
โมดูลที่ 4 กฎหมายและจริยธรรมสื่อที่ควรรู้
กฎหมายและจริยธรรมสื่อที่ควรรู้
ความรู้ในเรื่องของสิทธิของผู้บริโภคสื่อ กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการกำกับดูแลเนื้อหารายการและโฆษณา กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับผู้ใช้สื่อในยุคดิจิทัล รวมถึงการเป็นผู้ผลิตและสร้างสรรค์สื่อบนความรับผิดชอบตามมาตรฐานทางจริยธรรม
โมดูลที่ 5 ประเด็นปัญหาสื่อในปัจจุบัน
ประเด็นปัญหาสื่อในปัจจุบัน
ความรู้ ความเข้าใจ ทักษะ ประเด็นปัญหาข่าวลวง (Fake news) เพศ ภาษา (Langeage /ถ้อยคำเกลียดชัง (Hate speech) ความรุนแรง ภาพตัวแทน (Representative) และการบลูลี่ (Cyberbullying)
โมดูลที่ 6 การมีส่วนร่วมในสื่อ
การมีส่วนร่วมในสื่อ
ผู้เรียนรู้จะเกิดความเข้าใจถึงความสำคัญของ วัตถุประสงค์ การเป็นผู้ผลิตสื่อเผยแพร่สื่อ (ยกตัวอย่างของพฤติกรรมให้ชัด) มีความสามารถในการสร้างเนื้อหาเพื่อสื่อสาร (Create) ในบริบทที่หลากหลาย ประยุกต์ใช้และสร้างการเปลี่ยนแปลงได้ (creation of changing)
แบบทดสอบ คุณเป็นคนเท่าทันสื่อมากน้อยแค่ไหน ?
ผลการประกวดสื่อ โครงการมีฤทธิ์โปรเจค
MeLit Project
>> ผลการประกวดระดับมัธยม รางวัลที่ 1 ได้แก่ โรงเรียนปากพนัง , รางวัลที่ 2 ไม่มีทีมใดได้รางวัล และ รางวัลชมเชย ได้แก่ โรงเรียนศรียานุสรณ์ , โรงเรียนเถินวิทยา และ โรงเรียนสาธิตเทศบาลราชบุรี ................................ >>ผลการประกวดระดับประชาชนทั่วไป รางวัลที่ 1 ได้แก่ ผลงาน "เอ๊ะก่อนโอน" ของกลุ่มผู้สูงอายุเทศบาลพลายชุมพล พิษณุโลก , รางวัลที่ 2 ได้แก่ ผลงานเรื่องสั้น "โดนหลอกจากสื่อ" ของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง มหาสารคาม และ รางวัลชมเชย ได้แก่ ผลงาน "โฆษณาชวนเชื่อ" ของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง มหาสารคาม และ ผลงาน "เช็คก่อนชัวร์" ของชุมชนบางเสร่ ชลบุรี
ผลงานระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
การเข้าสื่อสังคมที่ดีคือแบบไหน...!? จัดทำโดย โรงเรียนสาธิตเทศบาลเมืองราชบุรี
การประกวดโครงการมีฤทธิ์โปรเจคในระดับมัธยม เรื่อง "การเข้าสื่อสังคมที่ดีคือแบบไหน? What is a good social media presence?" จัดทำโดย โรงเรียนสาธิตเทศบาลเมืองราชบุรี
ลองมาฟังถ้าไม่อยากโดน Fake จัดทำโดย โรงเรียนเถินวิทยา อ.เถิน จ.ลำปาง
การประกวดโครงการมีฤทธิ์โปรเจคในระดับมัธยม เรื่อง "ลองมาฟังถ้าไม่อยากโดน Fake" จัดทำโดย โรงเรียนเถินวิทยา อ.เถิน จ.ลำปาง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาลำปาง ลำพูน
"เด็กไทยมีฤทธิ์ รู้คิด รู้ทันสื่อ" จัดทำโดย โรงเรียนศรียานุสรณ์ จังหวัดจันทบุรี
การประกวดโครงการมีฤทธิ์โปรเจคในระดับมัธยม "เด็กไทยมีฤทธิ์ รู้คิด รู้ทันสื่อ" จัดทำโดย โรงเรียนศรียานุสรณ์ จังหวัดจันทบุรี
ผลงานระดับประชาชนทั่วไป
ผลงานเรื่องสั้น "โฆษณาชวนเชื่อ" ของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง มหาสารคาม
การประกวดโครงการมีฤทธิ์โปรเจคในระดับประชาชน ผลงานเรื่องสั้นได้รับรางวัลชมเชย ของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง มหาสารคาม นำเสนอเรื่อง "โฆษณาชวนเชื่อ"
ผลงานเรื่องสั้น 'เช็คก่อนชัวร์" ของชุมชนบางเสร่ ชลบุรี
การประกวดโครงการมีฤทธิ์โปรเจคในระดับประชาชน ผลงานเรื่องสั้นได้รับรางวัลชมเชย ของชุมชนบางเสร่ ชลบุรี นำเสนอเรื่อง "เช็คก่อนชัวร์"
ผลงานเรื่องสั้น 'โดนหลอกจากสื่อ" ของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง มหาสารคาม
การประกวดโครงการมีฤทธิ์โปรเจคในระดับประชาชน ผลงานเรื่องสั้นได้รับรางวัลที่ 2 ของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง มหาสารคาม นำเสนอเรื่อง "โดนหลอกจากสื่อ"
MeLit PROJECT PARTNER
ข่าวสาร และบทความ
ติดต่อเรา
สำนักรับเรื่องร้องเรียนและคุ้มครองผู้บริโภคในกิจการกระจายเสียงและโทรทัศน์ (บส.)
สำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (สำนักงาน กสทช.)
87 ถนนพหลโยธิน ซอย 8 แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400
โทร : 02-670-8888 ต่อ 6132 , 6138